KnowBe4

knowbe4

รายงานนี้จัดทำโดย KnowBe4 บริษัทชั้นนำด้านการฝึกอบรมความปลอดภัยทางไซเบอร์ วิเคราะห์ข้อมูลจากผู้ใช้งานกว่า 12.5 ล้านคน จาก 35,681 องค์กรใน 19 อุตสาหกรรม และ 7 ภูมิภาคทั่วโลก โดยมีเป้าหมาย คือ วัดความเสี่ยง Phishing ขององค์กรต่าง ๆเปรียบเทียบ Phish-phone Percentage หรือ เปอร์เซ็นผู้ใช้ที่เสี่ยงต่อการคลิกลิงค์หลอกลวง ของแต่ละอุตสาหกรรมวิเคราะห์ผลลัพธ์ ของการฝึกอบรมความปลอดภัยทางไซเบอร์ สถิติผู้ใช้คลิกลิงก์หลอกหลวง (Phishing) บนแพลตฟอร์ม **อ้างอิงข้อมูลจาก 12.5 ล้านคน** ค่าเฉลี่ยเริ่มต้น (Initial Baseline Phish-prone percentage) 32.2% ของผู้ใช้ทั้งหมด คลิกลิงก์หลอกลวง3 เดือนต่อมา (3...

Read More

วันที่ 29-30 พฤศจิกายน 2566 ณ ไบเทค บางนา ทีมงาน Monster Connect ร่วมกับ KnowBe4 ได้เข้าร่วมออกบูธนำเสนอแพลตฟอร์มโซลูชัน Security Awareness Training ในงานสัมมนาด้านความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ ครั้งที่ 22 (CDIC 2023) ได้รับความสนใจ การตอบรับจากผู้เข้าร่วมงานเป็นอย่างดี ...

Read More
SOAR

SOAR (Security Orchestraation, Automation and Response) หรือการจัดระบบด้านความปลอดภัยและการตอบสนองแบบอัตโนมัติ  เป็นกระบวนการและเทคโนโลยีที่เกี่ยวกับการจัดการและตอบสนองต่อเหตุการณ์ความปลอดภัยในองค์กรที่มีประสิทธิภาพและรวดเร็ว  How PhishER Works Orchestration Security orchestration  การเชื่อมต่อและการรวมแอปพลิเคชันและกระกวนการรักษาความปลอดภัยต่าง ๆ เข้าด้วยกันAutomation Security Automation การจัดการงานอัตโนมัติในแอปพลิเคชันความปลอดภัยบนเครื่องซึ่งผู้เชี่ยวชาญความปลอดภัยทางไซเบอณ์ จะทำด้วยตนเอง  ...

Read More
KnowBe4 PhishER

เครื่องมือช่วยในการจัดการและประมวลผลอีเมลฟิชชิ่ง (phishing email) ที่ได้รับเข้ามาในองค์กร เครื่องมือนี้สามารถทำการวิเคราะข้อมูลในอีเมลฟิชชิ่ง เช่น สแปมอีเมล (spam email) , อีเมลฟิชชิ่งซึ่งที่ส่งมาจากโดเมนที่ไม่น่าเชื่อถือ หรืออีเมลฟิชชิ่งที่มีเนื้อหาที่เป็นอันตราย และช่วยลดการตกเป็นเหยื่อของอีเมลฟิชชิ่ง โดยป้องกันไม่ให้ผู้ใช้งานคลิกลิงค์หรือดาวน์โหลดไฟล์ที่เป็นอันตรายซึ่งสามารถเข้าสู่ระบบขององค์กรได้  How PhishER Works ทั้งนี้จะช่วยให้องค์กรสามารถปรับปรุงความมั่นคงปลอดภัยในการใช้งานอีเมลฟิชชิ่งได้อย่างมีประสิทธิภาพ อ้างอิง : KnowBe4 ...

Read More

ความปลอดภัย ที่เหนือกว่าอุปกรณ์ Security ทั่วไป ในยุคสมัยที่ทุกอย่างอยู่บทดิจิทัล หลายๆองค์กรณ์พยายามยกระดับการป้องกันระบบของตัวเอง ด้วยวิธีการทำให้พนักงานของเขามีความตระหนักถึงความปลอดภัยทางไซเบอร์ เพื่อช่วยยกระดับความปลอดภัยขององค์กรให้เพิ่มจากเดิมได้อีก   วิธีการรักษาความปลอดภัยต่างๆบนโลกไซเบอร์นั้น ส่วนใหญ่จะเป็นวิธีการกันกับช่องโหว่ที่เกิดขึ้นกับระบบ  แต่พฤติกรรมของแฮกเกอร์สมัยใหม่นั้นเปลี่ยนไป แฮกเกอร์ไม่ได้มุ่งเจาะระบบที่ต่างๆ ที่ดูยากซะเหลือเกินในสมัยนี้ แต่จะใช้ศิลปะการหลอกลวงที่เรียกว่า Social Engineering หรือ แปลเป็นไทยว่า “วิศวกรรมสังคม” เป็นศิลปะในการหลอกลวง ล่อหลอกผู้อื่น ใช้หลักการพื้นฐานทางจิตวิทยาให้เหยื่อเปิดเผยข้อมูล เพื่อให้ได้ผลประโยชน์ตามที่แฮกเกอร์ต้องการโดยอาศัยจุดอ่อน ความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ความไม่รู้ ความประมาท ซึ่งการโจมตีนี้จะได้ผลดีมากเมื่อเทียบกับการโจมตีทางไซเบอร์ลักษณะอื่น ๆ โดยเฉพาะกับคนที่ไม่มีความรู้ทางด้านไอทีหรือความปลอดภัยทางไซเบอร์ ซึ่งการหลอกลวงประเภทนี้ มักจะมาในรูปแบบ E-mail phishing   แล้วเราจะป้องกันการโจมตีลักษณะนี้ยังไง ?   วิธีการที่จะปกป้ององค์กรให้รอดพ้นจากการโจมตีลักษณะนี้ มีอยู่ทางเดียวคือควรเพิ่มความรู้ความตระหนักถึงการโจมตีประเภทนี้ให้แก่พนักงานทุกคนในองค์กร เข้าใจว่ายังมีการโจมตีรูปแบบนี้อยู่ และหน้าตาของอีเมลล์หลอกลวงที่แฮกเกอร์ส่งมา มักจะมีหน้าตายังไง ผ่านการฝึกอบรบ ไม่ว่าจะเป็นแบบออนไลน์ หรือออฟไลน์ หรือทำ...

Read More
Phishing Mail

ระวัง Phishing Mail โคโรน่าไวรัส รู้กันดีโคโรน่ากำลังระบาดทั่วโลก ซึ่ง attacker ก็อาศัย สถานการณ์นี้สร้าง phishing ส่งหลอกคนทั่วโลก . ตัวอย่างนี้ หลอกโดยใช้รูป logo องค์การอนามัยโลก หรือ World Health Organization . ซึ่งแนบเอกสารการแนะนำวิธีการเช็คอาการไวรัสโคโรน่าที่กำลังระบาด โดยมีปุ่มคลิกเพื่อดาวน์โหลด . และโน้มน้าวโดยการสร้างความน่าเชื่อถือ บอกอาการที่พบบ่อย ได้แก่ ไข้ไอหายใจถี่และหายใจลำบาก (ซึ่งเราเห็นแล้วจากหลายๆ ที่) . สิ่งที่น่าสังเกตุอีกอย่าง คือ attacker มักจะสะกดคำผิด หรืออิ๊งมันไม่แข็งว้า (อาจมาจากประเทศที่ไม่ค่อยได้ใช้ภาษาอังกฤษมั้ง) ซึ่งเป็นสัญญาณเตือนเล็ก ๆ ว่าทะแม่งๆ ละ อีกทั้ง link ที่ให้คลิก ก็น่าสงสัยเช่นกัน . พอเรากดปุ๊ปจะ redirect ไปหน้าเว็ปองค์กรอนามันโลกหรือ who ที่...

Read More
Phishing

Phishing ใน e-commerce กับตัวอย่างของ Amazon Order ในหน้าเทศกาล อย่างในช่วงปลายปีที่ผ่านมา เป็นช่วงที่คนจับจ่ายใช้สอยเยอะ เว็บไซต์ e-commerce มีคนเข้ามาซื้อของมากมาย เช่นเดียวกับองค์กรต่างๆ ที่สั่งของมาใช้ในสำนักงาน มิจฉาชีพก็ใช้ช่วงเวลานี้ในการจารกรรมข้อมูลเช่นกัน โดยแอบอ้างเป็นเว็บไซต์ e-commerce ต่างๆ   อย่างในเคสล่าสุดช่วงปีใหม่ แฮคเกอร์ได้ส่งอีเมล Phishing แอบอ้างตนว่ามาจาก Amazon.com ส่งเมลมาแจ้งความคืบหน้าของสินค้าที่ผู้ใช้ได้สั่งไป อีเมลเหล่านั้นมักจะขึ้นต้นหรือมีคีย์เวิร์ดว่า "Amazon order details" หรือ "Your order 162-2672000-0034071 has shipped." (ตัวเลขเหล่านั้นมิจฉาชีพเมคขึ้นมา เพราะผู้สั่งสินค้าหรือพนักงานแผนกจัดซื้อจำเลข order สินค้าไม่ได้อยู่แล้ว)     เมื่อเปิดดูอีเมล ก็เห็นว่ามันเป็นอีเมลที่มีโลโก้ การจัดหน้า และการจัดฟอนต์เหมือนอีเมลจาก Amazon...

Read More

ผลวิจัย Phishing พบ TOP 3 บริษัทที่ถูกแอบอ้างคือ Microsoft, Paypal และ Google การทำ Phishing ผ่านอีเมลดูเป็นวิธีที่มิจฉาชีพนิยมใช้มากที่สุด ผลวิจัยองค์กร Comodo Cybersecurity บ่งชี้ว่า 3 บริษัทที่ถูกมิจฉาชีพแอบอ้างไปทำ Phishing มากที่สุดคือ Microsoft, Paypal และ Google จากการสำรวจ Global Threat Report 2018 ในไตรมาสที่ 3 ของปี 2018 ที่แล็บทดลองด้านภัยคุกคามของ Comodo พบว่า 63% ของอีเมลที่เข้ามาในอิยบ็อกซ์จะเป็นอีเมลที่ปลอดภัย ส่วน 24% เป็นแสปม...

Read More
KnowBe4

KnowBe4 กับการเป็นผู้นำของโลกด้าน security awareness training KnowBe4 บริษัทด้าน security awareness training ที่ใหญ่ที่สุดในโลกจากสหรัฐอเมริกา ได้รับเลือกจาก Gartner Magic Quadrant ให้เป็นหนึ่งในผู้นำด้าน  Security Awareness Computer-Based Training ของโลกเป็นปีที่สองติดต่อกัน จุดแข็งของ KnowBe4 คือการมี platform จำลอง Phishing (simulated phishing) ที่มีประสิทธิภาพ สามารถป้องกันเรื่อง social engineering ได้เป็นอย่างดี นั่นเป็นเพราะ platform ของ KnowBe4 ออกแบบจากมุมมองของแฮคเกอร์ Kevin Mitnick ผู้ก่อตั้งบริษัท เคยเป็นแฮคเกอร์มาก่อน...

Read More

ธนาคารกรุงไทยแจ้งเตือนอีเมล Phishing กำลังแพร่ระบาด   ธนาคารกรุงไทยได้ออกมาแจ้งเตือนถึงแคมเปญอีเมล Phishing ที่กำลังแพร่ระบาดอยู่ในขณะนี้ โดยผู้ไม่ประสงค์ดีปลอมตัวเป็นพนักงานจาก KTB netbank ระบบ Internet Banking ของธนาคารกรุงไทย แล้วหลอกให้เหยื่อคลิกลิงค์ที่แนบมากับอีเมลเพื่อหลอกขโมยรหัสผ่าน อีเมล Phishing ดังกล่าวถูกระบุว่าส่งมาจาก “ธนาคารกรุงไทย.” <[email protected]> โดยจั่วหัวเป็น “รักษาความปลอดภัยบัญชีของคุณจากผู้ใช้ที่ไม่ได้รับอนุญาต” ซึ่งโดเมนที่ใช้งานมีชื่อคล้ายกับเว็บไซต์ของ KTB netbank (www.ktbnetbank.com) เพื่อหลอกให้เหยื่อเข้าใจว่าเป็นพนักงานหรือระบบอัตโนมัติของ KTB netbank ส่งอีเมลแจ้งเตือนมา เนื้อหาในอีเมลระบุว่า พบการเข้าถึงระบบ Internet Banking ของเหยื่อจากหมายเลข IP ที่ไม่รู้จัก จึงทำการระงับบัญชีชั่วคราวเพื่อความมั่นคงปลอดภัย พร้อมทั้งบอกให้เหยื่อลงชื่อเข้าใช้เว็บ https://www.ktbnetbank.com เพื่อเปิดใช้งานบัญชีอีกครั้ง นอกจากนี้ยังขู่อีกว่า ถ้าใส่ข้อมูลไม่ถูกต้องหรือไม่ครบถ้วนอาจทำให้บัญชีของเหยื่อถูกล็อกโดยถาวร อย่างไรก็ตาม ลิงค์ที่แนบมานั้นกลับนำเหยื่อไปสู่เว็บ Phishing ของแฮ็กเกอร์แทน ถ้าเหยื่อเผลอกรอกข้อมูลลงไป จะทำให้ถูกขโมยรหัสผ่านทันที [caption id="attachment_7497"...

Read More