Author: Monster Connect

เทียบสเปค Firewall XG Series for Desktop ถ้าพูดถึง Firewall ที่คุ้มค่าที่สุดในท้องตลาด แบรนด์ที่ไม่พูดถึงไม่ได้เลยคือ Sophos ที่ครองอันดับหนึ่งของ throughput ที่มากที่สุด เมื่อเทียบจำนวน GB ต่อหนึ่งบาทแล้ว แถม Sophos ยังรองรับการทำ network ข้ามสาขาอีกด้วย ไม่ว่าคุณกำลังมองหาเครื่องด้านความปลอดภัยแบบ all-in-one ในกับสาขาย่อยในองค์กร หรือต้องการ Firewall รุ่นใหม่สำหรับธุรกิจที่กำลังเติบโต นี่คือ Firewall XG Desktop Models จาก Sophos PERFORMANCE FIREWALL : 3 GBPS NGFW : 310 MBPS VPN : 225 MBPS IPS : 580...

Read More

กิจกรรมบูธจัดแสดง Solution "Rapid7" ที่งานประชุมวิชาการเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อสุขภาพ 19 มิถุนายน 2561 ...

Read More

กิจกรรม Monster's Outing 2018 ในวันที่ 16-17 มิถุนายน 2561 ทีมงานของ Monster Connect ได้เดินทางไป Outing ณ รีสอร์ต The Air เขาใหญ่   [gallery link="file" columns="5" size="medium" ids="6577,6578,6579,6580,6581,6582,6583,6584,6585,6586,6587,6588,6589,6590,6591,6592,6593,6594,6595,6596,6597,6598,6599,6600,6601,6602"]...

Read More

กิจกรรม Workshop "Rapid7 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์" Monster Connect ได้จับมือร่วมกับ Rapid7ประเทศไทย จัดกิจกรรม Workshop Rapid7 ในวันที่ 26 มิถุนายน 2561 [gallery columns="4" link="none" size="large" ids="6554,6555,6556,6557,6558,6559,6560,6561,6562,6563,6564,6565,6566,6567,6568,6569,6570,6571" orderby="rand"]...

Read More
Ransomware

ระวังไว้ดีกว่าเสียใจ Ransomware ไวรัสเรียกค่าไถ่ปราบเซียน ! Blackmail over the Internet   Ransomware เป็นมัลแวร์ที่มักใช้ในการคุกคามและก่ออาชญากรรมผ่านระบบไซเบอร์ ซึ่งส่วนมากจะมุ่งหวังประโยชน์ทางการเงินเป็นหลัก ! โดยเหล่าแฮกเกอร์จะซ่อนลิงก์อันตราย ที่แฝงตัวมัลแวร์เอาไว้ในอีเมล์หรือเว็บซึ่งเป้าหมาย (หรือคนทั่วไป) ก็จะสามารถกดลิงก์เหล่านั้นได้   และเมื่อมีคนเปิดใช้งาน Ransomware เข้าไปแล้วรับรองได้เลยว่าจะต้องยากเกินไปแก้ไขแน่นอน ซึ่งที่มีให้เห็นกันในปัจจุบันก็คือ “การเข้าไปปิดการเข้าถึงไฟล์และแอปพลิเคชั่น”  ในลักษณะการเรียกค่าไถ่ โดยเหล่าแฮกเกอร์จะเรียกเก็บค่าไถ่ผ่านสกุลเงินที่ไร้ตัวตนอย่างเช่น “Bitcoin”   Ransomware จึงถือว่าเป็นภัยคุกคามทางไซเบอร์ที่ร้ายแรงและกำลังทวีความรุนแรงขึ้น โดยจากข่าวที่ได้ติดตามกันไม่ว่าจะเป็น Teslacrypt, Cerber, Dridex และ Locky และล่าสุด WannaCry ก็สามารถสร้างความเสียหายเป็นหลายร้อยล้านเหรียญกันเลยทีเดียว   [embed]https://www.youtube.com/watch?v=Zz_cdfbOfP8[/embed]   Dangers of Ransomware   เมื่อ Ransomware สามารถเข้าไปติดตั้งที่ระบบเครื่องขอเป้าหมายแล้ว ผู้ใช้จะโดนการเข้ารหัสไฟล์ที่สำคัญ หรือล็อคผู้ใช้ให้ออกจากคอมพิวเตอร์ และมีอีเมล์เรียกค่าไถ่ตามมาในภายหลัง ซึ่งมักเรียกร้องการชำระเงินด้วยสกุลเงินเสมือนจริงเพื่อแลกกับรหัสลับในการถอดรหัสหรือปลดล็อก   ที่อันตรายไปกว่านั้นก็คือ Ransomware...

Read More
Advanced Persistent Threats

อะไรคือภัยคุกคามขั้นสูง Anatomy of Advanced Persistent Threats หากคุณรู้ว่าพวกเขาทำงานได้อย่างไร ? มีโครงสร้างและรูปแบบการโจมตีอย่างไร ? คุณจะสามารถหยุดพวกเขาได้ จากอาชญากรไซเบอร์ที่แสวงหาข้อมูลทางการเงินส่วนบุคคล สร้างความเสียหายแก่ทรัพย์สินในธุรกิจ และภาครัฐ ได้ถูกพัฒนาให้มีความล้ำสมัยคล้ายคลึงกับการก่อการร้ายผ่านโลกไซเบอร์   และเพื่อสร้างความปลอดภัยสูงสุดให้กับเครือข่ายและองค์กรได้ ผู้สร้างความปลอดภัยจะต้องเข้าใจระบบการทำงานของภัยคุกคามขั้นสูงอย่างเจาะลึก Anatomy of Advanced Persistent Threats (APTs)   The 6 steps of an APT attack   เพื่อปรับปรุงการรักษาความปลอดภัยในโลกไซเบอร์ของคุณและความสำเร็จในการป้องกันตรวจหาและแก้ไขปัญหาภัยคุกคามขั้นสูง ก่อนอื่นคุณต้องเข้าใจว่า APT ทำงานอย่างไร:   อาชญากรบนโลกไซเบอร์ จะได้ประโยชน์จากช่องโหว่ที่เกิดขึ้นในองค์กรของคุณ และแทรกซึมเข้าสู่เครือข่ายด้วยอีเมล์ แอพพลิเคชั่น และมัลแวร์ เข้าไปในเครือข่าย แต่ในส่วนนี้คือการบุกรุกยังไม่ละเมิด แฮกเกอร์สามารถใช้มัลแวร์ขั้นสูง เพื่อตรวจสอบการเข้าถึงเครือข่ายเพิ่มเติมและช่องโหว่หรือติดต่อสื่อสารกับเซิร์ฟเวอร์คำสั่งและควบคุม (CnC)...

Read More

Cost of a Data Breach ค่าความเสียหาย ที่คุณอาจจะต้องจ่าย ยกระดับความปลอดภัยบนโลกไซเบอร์ของคุณด้วยการคำนวณค่าใช้จ่ายให้รอบคอบมากที่สุด ทั้งในเรื่องของต้นทุนเครื่องที่จะต้องหามาป้องกัน ร่วมไปถึงค่าความเสียหายหากโดนโจมตี อะไรมันจะคุ้มค่ากว่ากัน   การละเมิดข้อมูลในองค์กรคือฝันร้ายที่หลายองค์กรจะต้องเจอและเกิดความเสียหายอย่างมหาศาล ซึ่งแทนที่คุณจะเอาเวลาไปกังวลเรื่องเหล่านั้น ควรจะเริ่มต้นคำนวณงบประมาณ ค่าใช้เพื่อให้เหมาะสมกับระดับความต้องการความปลอดภัย   ผู้ประกอบการส่วนใหญ่มักจะล้มเหลวในเรื่องของการประเมินต้นทุน จนก่อให้เกิดความสูญเสียทั้งในเรื่องของความเสียหายและความเสียหายในเรื่องข้อมูลอีกด้วย   “Costs of deficient security”   เมื่อเกิดการละเมิดในเครือข่ายขององค์กร ก็หมายความว่าความปลอดภัยของคุณล้มเหลว และคำถามเหล่านี้จะช่วยให้คุณคุณสมบัติและกำหนดปริมาณค่าใช้จ่ายของความล้มเหลวดังกล่าวได้ : คุณมีประสิทธิภาพมากแค่ไหน ? ในการเตรียมความพร้อมและรับมือความเสียหายที่เกิดขึ้น และที่ผ่านมามีเหตุการณ์ความเสียหายในโลกไซเบอร์เกิดขึ้นกี่ครั้ง ? ในปัจจุบันคุณมีการจักลำดับความเสียหายได้หรือไม่ ? จำนวนความเสียหายที่ผ่านมาสร้างความเสียหายให้กับองค์กรของคุณในระดับไหน และคุณสามารถรับมือกับงบประมาณเหล่านั้นได้หรือไม่ ? คุณกำลังเรียนรู้เกี่ยวกับผู้โจมตีและภัยคุกคามหรือไม่ ? ในปัจจุบันคุณมีโซโลชั่นด้านความปลอดภัยหรือไม่ ? ถ้ามีสามารถรับมือภัยคุกคามบนโลกไซเบอร์ได้มากน้อยแค่ไหน คุณสามารถวัดได้หรือไม่ ?   “Costs of breach consequences”   หลังจากที่เกิดการละเมิดข้อมูล...

Read More
Cyber Attacks

Cyber Attacks สร้างความเสียหายให้กับเครือข่ายของคุณอย่างไร ผู้โจมตีรู้ดีว่า "พวกเขาต้องการโจมตีอะไร" เครือข่ายไหนที่มีความปลอดภัย เครือข่ายไหนที่ล้มเหลว ผ่านการแสกนช่องโหว่อย่างมีประสิทธิภาพของเหล่าแฮกเกอร์   “Attackers know exactly what they want and how traditional network security fails”   การโจมตีสร้างความเสียหายบนโลกไซเบอร์ ถูกออกแบบมาเพื่อสร้างความเสียหายในการแสวงหาผลประโยชน์จากการคุกคามเป็นหลัก ซึ่งจะมีรูปแบบการโจมตีที่หลากหลาย รวมไปถึงยังมีการพัฒนาขั้นสูงอย่างต่อเนื่องไม่แตกต่างกับระบบป้องกันความปลอดภัย   ทำให้มาตรการรักษาความปลอดภัยแบบเดิมๆ เช่น Firewall, Anti-Virus, Web Gateway และเทคโนโลยีความปลอดภัย Sandbox ไม่ได้ออกแบบมาเพื่อป้องกันความปลอดภัยขั้นสูง ทำให้ระบบความปลอดภัยเหล่านี้สามารถป้องกันการโจมตีได้เพียง 1-2 ครั้งเท่านั้น สุดท้ายแล้วผู้โจมตีก็จะมองหาช่องโหว่แล้วโจมตีสร้างความเสียหายจนสำเร็จ   “Cyber attacks exploit network vulnerabilities”   ในปัจจุบันการโจมตีบนโลกไซเบอร์ได้เน้นการกำหนดเป้าหมายอย่างชีดเจนมากยิ่งขึ้น โดยจะสร้างเป้าหมายเฉพาะบุคคลและองค์กร เพื่อสร้างความเสียหายและแสวงหาผลประโยชน์ รวมทั้งการโจมตีหลากหลายช่องทางไม่ว่าจะเป็นปล่อยไฟล์ที่เป็นอันตราย...

Read More
Zero-day-exploits-Cyber-attack-redefined

ทำความรู้จักก่อนเจอดี ! อะไรคือ Zero-Day Exploit ? Zero-Day Exploit : การโจมตีขั้นสูงที่ได้วางแผน ล็อกเป้าหมาย และกำหนดเอาไว้แล้ว !   เวลาคนเราเริ่มต้นนับเลขก็มีจะเริ่มนับกันที่ 1 ใช่ไหมครับ แต่ถ้าเป็นการนับจำนวนที่น้อยกว่า 1 หรือ 0 นั่นก็หมายถึงการนับตำแหน่งที่จะเกิดขึ้นก่อนที่คุณจะเริ่มต้นนับเสียอีก ส่วนคำว่า Exploit ก็ความหมายตรงตัวที่ที่แปลว่า “การฉวยโอกาส”  จึงสามารถรวมความหมายของทั้งสองคำนี่ได้เป็น “การฉวยโอกาสจากคุณก่อนที่คุณจะทันได้ตั้งตัว”   อย่าพึ่งงงกับความหมายนี้ ! แต่ต้องกลับมาทำความเข้าใจเรื่องของการทำงานของระบบ Software รวมไปถึงระบบปฏิบัติการทุกอย่าง “ย่อมมีช่องโหว่” และเมื่อผู้ไม่หวังดีสามารถค้นหาช่องโหว่เหล่านั้นเจอ ก็จะเป็นการคุกคามช่องโหว่นั้นได้ทันทีโดยที่คุณไม่ทันตั้งตัว การกระทำนี้คือความหมายของ “Zero-Day Exploit”   ช่องโหว่ที่เกิดขึ้นกับ Zero Day ซึ่งก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อทั้ง Software Hardware...

Read More