Author: WRT JPM

CAPEX OPEX ใน IT

ในมุมมองด้านธุรกิจที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีในปัจจุบันนอกจากจะเป็นการขับเคลื่อนตัวธุรกิจเองให้สามารถปรับตัวไปกับเทคโนโลยีใหม่ๆแล้วการดำเนินการเรื่องงบประมาณให้สอดคล้องกับเทคโนโลยีก็เป็นส่วนสำคัญในบล็อคนี้เราจะมาพูดถึงเจ้าตัว CAPEX กับ OPEX ว่ามันคืออะไร รูปแบบของมันเป็นอย่างไร CAPEX (Capital Expenditures) เป็นค่าใช้จ่ายในการลงทุนด้านไอทีที่หมายถึงการใช้ทุ่มทุนไปกับสินทรัพย์ถาวรขององค์กรซื้ออุปกรณ์ซอฟแวร์และฮาร์ดแวร์และทรัพยากรคนที่มีความสามารถด้านนั้นเพื่อมาดูแลระบบอีกทีในระยะยาวมากกว่า1ปี หรือยาวกว่านั้น เป็นการคิดรวมค่าเสื่อมราคาตลอดอายุการใช้งานเข้าไปด้วยตลอดการใช้งาน เมื่อหมดอายุการใช้งาน จะต้องเปลี่ยนไป อุปกรณ์ไปเรื่อยๆ แต่เราจะไม่ได้เสียค่าใช้จ่ายที่เป็นรายเดือนหรือรายปี ตัวอย่างค่าใช้จ่าย Capex IBM Power systemsIntel-based Windows serversIT Infrastructure OPEX (Operational Expenditures) ค่าใช้จ่ายในการดำเนิน อย่างในปัจจุบันการเปลี่ยนแปลงด้านธุรกิจไอทีได้เปลี่ยนไป การใช้วิธีการ OPEX ผ่านการให้บริการในรูปแบบ "as-a-service” การใช้จ่ายที่ไม่ต้องจ่ายเพียงแค่ครั้งเดียว แต่เป็นการซื้อตามรอบกำหนด หรือชำระตามการใช้จริง ทำให้เราเห็นข้อดีหลาย ๆอย่างในการที่จะ ช่วยให้บริษัทต่างๆ สามารถกระจายการชำระเงินได้เป็นระยะเวลานาน และใช้เงินสดที่มีอยู่อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นสำหรับโซลูชันการสร้างรายได้ อีกทั้งยังมีความยืดหยุ่นในการนำ...

Read More
power bi 6 six

Power bi หนึ่งในตระกูล power ของ Microsoft เป็นเครื่องมือที่จะช่วยขับเคลื่อนธุรกิจในการวิเคราะห์เชิงลึกและแสดงภาพของข้อมูลที่ยังไม่ผ่านการประมวลผลที่เก็บรวบรวมจากที่ต่างๆมาเพื่อนำเสนอข้อมูลที่นำไปดำเนินการได้ ซึ่งรวมการวิเคราะห์ธุรกิจการสร้างภาพข้อมูล และแนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุดที่ช่วยให้องค์กรสามารถตัดสินใจโดยใช้ข้อมูลเป็นหลัก มีทั้งใช้งานฟรีและเสียเงิน Power BI Free, Pro และPremium  Business Intelligence เกี่ยวกับข้อมูลอย่างไร เทคโนโลยีที่ช่วยสรุปภาพรวมของข้อมู,ให้เข้าถึงง่ายในธุรกิจ เพื่อใช้ในการรายงานความคืบหน้า การตัดสินใจให้เหมาะสม โดย BI จะช่วยในการประมวณผลข้อมูลต่างๆ Data mining: การจัดเรียงชุดข้อมูลขนาดใหญ่โดยใช้ฐานข้อมูล สถิติ เพื่อระบุแนวโน้มและสร้างความสัมพันธ์ Querying: การได้ข้อมูลและการเข้าถึงฐานข้อมูลData preparation: การรวบรวมข้อมูลจากหลากหลายแห่งReporting: Descriptive analytics: การรายงานเปรียบเทียบกระบวนการทางธุรกิจในปัจจุบันและตัวชี้วัดประสิทธิภาพกับข้อมูลเพื่อติดตามประสิทธิภาพธุรกิจ  Statistical analysis: การรวบรวมผลลัพธ์จากการวิเคราะห์จากตัวเลขและการใช้สถิติเพื่อระบุแนวโน้มที่จะเกิดไมเกิดขึ้นจากข้อมูลชุดนั้นๆ  Data visualization: การสร้างภาพจากข้อมูล เป็นแผนภูมิ กราฟ ที่สามารถเข้าใจง่าย ทำไมต้องใช้ Power BI...

Read More
cover E-Signature

ในโลกดิจิทัล ใครหลายๆคนเริ่มหันมาใช้งานอินเทอร์เน็ตกันมากขึ้น ไม่ว่าจะนักเรียนนักศึกษา องค์กร ที่ใช้เครื่องมือติดต่อสื่อสารผ่านอินเทอร์เน็ต ถ้าเทียบกับยุคก่อนที่อินเตอร์เน็ตยังไม่ป็นที่นิยมเนื่องจากความเร็วของอินเทอรเน็ตเองและในหลายองค์กรยังไม่ได้มีความรู้ด้านดิจิทัลมากพอมาก การทำงานภายในองค์กรยังต้องพึ่งงานเอกสาร ที่เป็นรูปแบบกระดาษอยู่ การเซ็นเอกสารยังต้องเป็นการเซ็นกระดาษเพื่อรองรับให้ถูกต้องทั้งวิธีการ และทางด้านกฎหมาย แต่ในปัจจุบันหลายๆองค์เริ่มหันมาใช้เอกสารอิเล็กทรอนิกส์นการส่งไฟล์ต่างๆระหว่างแผนก หรือส่งข้างองค์กรก็ยังมีความง่ายมากยิ่งขึ้น บล็อกนี้เราจะมาดูกันว่า การเซ็นเอกสารในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์มีความสำคัญอย่างไรและจะช่วยยกระดับการทำธุรกรรมและจะช่วยผลักดันการทำงานสู่ดิจิทัลอย่างไร E-Signature คืออะไร E-Signature หรือ electronic signature เทคโนโลยีในการลงลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ ใช้แทนการลงลายมือในกระดาษ สามารถที่จะใช้รูปแบบที่เป็นตัวอักษร อักขระ ตัวเลข ในการยืนยันเจ้าของลายมือกับข้อมูลในเอกสารนั้น เพื่อการผู้เซ็นรับยอมรับกับข้อมูลเอกสาร โดยมีการใช้เทคโนโลยีที่สามารถตรวจสอบได้ว่าผู้นั้นเป็นเจ้าของลายเซ็นไหม สิ่งที่สำคัญของการลงลายมือชื่อ คือ การทำให้สามารถระบุตัวเจ้าของลายมือชื่อและแสดงความต้องการของเจ้าของลายมือชื่อเกี่ยวกับข้อความที่ตนได้ลงลายมือชื่อนั้น ๆ ในการทำธุรกรรมทางต่างๆผ่านออนไลน์ เช่น การเซ็นการอนุมัติการสั่งซื้อ electronic signature ได้มีกฎหมายรับรอง ตามพรบ. ว่าด้วยการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์เป็นไปตามมาตรฐานสากล พ.ศ.2544 และฉบับเพิ่มเติม ปี2562 เราสามารถแบ่งประเภทได้ดังนี้ ประเภทที่...

Read More

ทุกวันนี้การเข้าถึงอินเทอร์เน็ตเป็นสิ่งใกล้ตัวเราสามารถติดต่อสื่อสารหากันได้แบบไม่มีขีดจำกัดมีข้อดีมากมายของดิจิทัลเองที่มาช่วยพลักดันให้เราใช้เทคโนโลยีการมากยิ่งขึ้น อย่างในปัจจุบันโลกได้เข้าสู่การระบาดของcovid-19 ทำให้บุคคลธรรมดารวมไปถึงธุรกิจมีการปรับตัวกันมากขึ้นหันมาใช้รูปแบบออนไลน์ในการทำงานยิ่งขึ้น ทำให้ทุกคนสะดวกสบาย แต่ความสะดวกสบายนั้นก็แฝงไปด้วยอันตราย แนวโน้มของการก่ออาชญกรรมทางไซเบอร์เริ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ และมีหลายรูปแบบที่ไม่สามารถคาดเดาได้ ภัยพวกนี้อยู่ใกล้เรามากยิ่งขึ้น การโจมตีทางไซเบอร์ไม่ว่าจะเป็น ransomware, social engineering และ maliciousสร้างความเสียหายต่อชื่อเสียงได้มากเช่นกัน ถูกนำเอาข้อมูลผู้บริโภค องค์กร ไปใช้ในทางที่ผิด เมื่อถูกบุกรุก อาจทำให้ธุรกิจต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบที่เข้มงวดและที่มีค่าใช้จ่ายสูงในการจ่ายเพื่อรักษาความปลอดภัยระบบของตน นี่คือเหตุผลที่เราจำเป็นจะต้องรู้ว่าภายในอนาคตข้างหน้าจะมีเทรนด์เกี่ยวกับ แนวโน้มการรักษาความปลอดภัย Cybersecurity มีอะไรที่น่าสนใจบ้าง User Awareness ภัยคุกคามทางไซเบอร์รุนแรงขึ้นทุกวัน องค์กรจะต้องเสริมสร้างเกาะป้องกันการรักษาความปลอดภัยให้ดีมากยิ่งขึ้น มีการรักษาความปลอดภัยในองค์กรหลากหลาย อย่าง firewall แลพ potocol มากมายที่เป็นการรักษาความปลอดภัยให้กับข้อมูลและเป็นสิ่งที่ขับเคลื่อนด้านความปลอดภัยได้มากที่สุดคือทรัพยากรคนหรือพนักงานภายในองค์กรเราต้องมีความรู้โดยภายในองค์กรควรมีการจัดอบรม ให้กับพนักงานได้มีความกระตือรือร้นในการศึกษาเรื่องการรักษาความปลอดภัย Cyber Security สำหรับGDPR (PDPA) กฎหมายด้านการคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคลของสากลอย่าง GDPR การกำหนดความปลอดภัยของข้อมูลได้๔กนำมาใช้และมีผลกระทบอย่างมากต่อข้อกำหนดในการปกป้องข้อมูลทั่วโลก...

Read More
Microsoft365 manufacturing requirements

ในโลกการทำงานปัจจุบันเทคโนโลยีก้าวไปอย่างรวดเร็ว องค์กรต้องการรูปแบบการจัดการงานที่รวดเร็วและสามารถเข้าถึงกันได้ในหลายๆส่วน ...

Read More

ในโลกที่เต็มไปด้วยดิจิทัล การรับและส่งข้อมูลบนโลกอินเทอร์เน็ต ที่ทุกคนสามารถเข้าถึงได้อย่างอิสระ ไม่ว่าจะเป็นบุคคลธรรมดา องค์กรขนาดเล็กจนไปถึงองค์กรขนาดใหญ่ รัฐบาล และระดับประเทศที่สามารถเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต ในการใช้งานแต่ละบุคคลมีวัตถุประสงค์ที่แตกต่างกันออกไป องค์กรหรือบุคคลธรรมดาเองมีความเสี่ยงต่อภัยคุกคามทางไซเบอร์มากยิ่งขึ้น เนื่องจากในปัจจุบันเราทำธุรกรรม กิจกรรมต่างๆล้วนแต่เกิดขึ้นบนอินเทอร์เน็ต และถูกเก็บเป็น Digital Footprint อยู่ตลอดเวลา และเมื่อข้อมูลไม่ถูกรักษาความปลอดภัย ผู้ไม่หวังดีจะนำข้อมูลไปใช้ในทางที่ผิด ทุกๆคนจะรู้จักกับ Cybersecurity การรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์ ที่เจอกันในโลกไอที และบนอินเทอร์เน็ต ในบล็อกนี้เราจะมาศึกษา cyber resilience ที่มีความแตกต่างกันออกไป Cyber Resilience คืออะไร? Cyber Resilience ถ้าแปลกันตรงตัวจะหมายความว่าความยืดหยุ่นทางไซเบอร์ มีความเกี่ยวโยงกับ "สภาวะทางไซเบอร์"เป็นอย่างมาก คือการที่เราใช้และเคลื่อนไหวกิจกรรมต่างๆบนโลกอินเทอร์เน็ตอยู่ตลอดเวลา Cyber Resilience ก็คือการเตรียมตัว รับมือ...

Read More
microsoft share point

ก่อนอื่นเรามาทำความรู้จักกับเจ้าตัว SharePoint Online website เป็นแพลตฟอร์มที่ภายในองค์กรหรือผู้ใช้งานจะใช้ในการสร้างเว็บไซต์ เพื่อจัดเก็บข้อมูลและแชร์เอกสารผ่านเว็บ สามารถทำงานได้หลากหลายเช่น การสร้างเว็บไซต์ การรักษาความปลอดภัยของข้อมูล มีหน้าพื้นที่ทำงานร่วมกัน สามารถชวนคนอื่นเข้ามาสู่หน้าการทำงานร่วมกันได้ ขั้นตอนที่เราได้นำมานำเสนอคือขั้นตอนปรับแต่ง Online website ของคุณด้วย SharePoint มีอยู่ 5 ขั้นตอนที่นำไปใช้งานได้และง่ายมากๆ Customize logoCustomize navigationCustomize themeCustomize page layout Customize web parts Customize logo A : คลิกที่ปุ่มตั้งค่า ไปตั้งค่าที่ Site information B : แถบ site information จะโชว์หน้าแถบขึ้นมาจากนั้นเลือก Change เพื่อเปลี่ยนรูปที่ต้องการจะใช้ C...

Read More

ในช่วงที่ผ่านมาโลกของเราได้เจอการเปลี่ยนแปลงที่มากมายและรวดเร็ว การระบาดของโรค เศษฐกิจ รวมไปถึงเทคโนโลยีที่เข้ามาเปลี่ยนแปลงการทำงานวิธีการทำงานร่วมกันและการสื่อสารที่แตกต่างออกไป หลายๆองค์กรจำเป็นต้องปรับตัวให้ทันกับเทคโนโลยีที่ก้าวกระโดดเพื่อนำมาให้ปรับภายในองค์กรให้เหมาะสม จากที่ทุกคนเห็นในช่วงการระบาดของโรคโควิด-19 ที่ผ่านมาและยังดำเนินอยู่ในปัจจุบันการทำงานภายในองค์กร จากเดิมที่พนักงานทุกคนได้เข้าออฟฟิศ เปลี่ยนมา WFH การทำงานที่ต้องใช้เทคโนโลยีในการสื่อสาร รูปแบบการทำงานเปลี่ยนดป็นระบบไฮบริด มากยิ่งขึ้น ทุกๆคนคงเคยได้ยินหลายๆองค์พูดถึงเรื่องการทำงาน Work from Anywhere การผสมผสานกันระหว่าง In-person กับ Remot work จะเห็นได้จากงานวิจัยของ Microsoft ในเรื่องการทำงาน 73% ของคนทำงานพบว่ามีความต้องการ Remote work ที่จะช่วยคนทำงานเชื่อมต่อกับองค์กรที่ดียิ่งขึ้น อยากให้ ทุกคนลองนึกภาพตามว่าพนักงานทุกคนสามารถที่จะทำงานภายในองค์กรสามารถสื่อสารและอัพเดตงานกันได้ภายในองค์กรได้อย่างรวดเร็ว ส่งผลทำให้การทำงานมีประสิทธิภาพ และสร้างวัฒนธรรมให้กับองค์กรที่แตกต่าง เทคโนโลยีแพลตฟอร์มในปัจจุบัน ถูกนำมาใช้อย่างแพร่หลายในองค์กรต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น video conference แพลตฟอร์มที่ช่วยในการทำงานให้ ...

Read More

เมื่อเดือนพฤษภาคม ปี 2565 ที่ผ่านมาทาง Microsoft ได้เปิดตัวแพลต์ฟอร์มในตระกูล Power Platform ชื่อว่า Power Pages ที่ถูกต่อยอดจาก Power app ซึ่งจะช่วยให้นักพัฒนา ผู้ที่ต้องการสร้างเว็บไซต์เอง และภายในองค์กรสร้างโซลูชัน การออกแบบและสร้างเว็บไซต์ง่ายๆ ยิ่งในปัจจุบันในยุคที่ธุรกิจเติบโต และเกิดdigital transformation ในแต่ละองค์กรมีการปรับตัวกันอย่างรวดเร็ว ถือว่าเป็นเครื่องมือที่สามารถใช้งานได้ทั่วไปจนถึงระดับprofessional Power Pages คืออะไร? ...

Read More