June 2022

CAPEX OPEX ใน IT

ในมุมมองด้านธุรกิจที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีในปัจจุบันนอกจากจะเป็นการขับเคลื่อนตัวธุรกิจเองให้สามารถปรับตัวไปกับเทคโนโลยีใหม่ๆแล้วการดำเนินการเรื่องงบประมาณให้สอดคล้องกับเทคโนโลยีก็เป็นส่วนสำคัญในบล็อคนี้เราจะมาพูดถึงเจ้าตัว CAPEX กับ OPEX ว่ามันคืออะไร รูปแบบของมันเป็นอย่างไร CAPEX (Capital Expenditures) เป็นค่าใช้จ่ายในการลงทุนด้านไอทีที่หมายถึงการใช้ทุ่มทุนไปกับสินทรัพย์ถาวรขององค์กรซื้ออุปกรณ์ซอฟแวร์และฮาร์ดแวร์และทรัพยากรคนที่มีความสามารถด้านนั้นเพื่อมาดูแลระบบอีกทีในระยะยาวมากกว่า1ปี หรือยาวกว่านั้น เป็นการคิดรวมค่าเสื่อมราคาตลอดอายุการใช้งานเข้าไปด้วยตลอดการใช้งาน เมื่อหมดอายุการใช้งาน จะต้องเปลี่ยนไป อุปกรณ์ไปเรื่อยๆ แต่เราจะไม่ได้เสียค่าใช้จ่ายที่เป็นรายเดือนหรือรายปี ตัวอย่างค่าใช้จ่าย Capex IBM Power systemsIntel-based Windows serversIT Infrastructure OPEX (Operational Expenditures) ค่าใช้จ่ายในการดำเนิน อย่างในปัจจุบันการเปลี่ยนแปลงด้านธุรกิจไอทีได้เปลี่ยนไป การใช้วิธีการ OPEX ผ่านการให้บริการในรูปแบบ "as-a-service” การใช้จ่ายที่ไม่ต้องจ่ายเพียงแค่ครั้งเดียว แต่เป็นการซื้อตามรอบกำหนด หรือชำระตามการใช้จริง ทำให้เราเห็นข้อดีหลาย ๆอย่างในการที่จะ ช่วยให้บริษัทต่างๆ สามารถกระจายการชำระเงินได้เป็นระยะเวลานาน และใช้เงินสดที่มีอยู่อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้นสำหรับโซลูชันการสร้างรายได้ อีกทั้งยังมีความยืดหยุ่นในการนำ...

Read More
cyber crime

10 อาชญากรรมไซเบอร์ ในปี 2022 ที่ควรระวัง บริษัทวิจัย Cybersecurity Ventures ได้เผยถึง 10 อาชญากรรมด้านไซเบอร์ที่ควรระวังในปีนี้ ซึ่งได้แก่ 1. ภัยไซเบอร์โจมตีระบบ OT (Operational Technology) OT เป็นระบบคอมพิวเตอร์และการสื่อสารประเภทหนึ่ง ...

Read More
power bi 6 six

Power bi หนึ่งในตระกูล power ของ Microsoft เป็นเครื่องมือที่จะช่วยขับเคลื่อนธุรกิจในการวิเคราะห์เชิงลึกและแสดงภาพของข้อมูลที่ยังไม่ผ่านการประมวลผลที่เก็บรวบรวมจากที่ต่างๆมาเพื่อนำเสนอข้อมูลที่นำไปดำเนินการได้ ซึ่งรวมการวิเคราะห์ธุรกิจการสร้างภาพข้อมูล และแนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุดที่ช่วยให้องค์กรสามารถตัดสินใจโดยใช้ข้อมูลเป็นหลัก มีทั้งใช้งานฟรีและเสียเงิน Power BI Free, Pro และPremium  Business Intelligence เกี่ยวกับข้อมูลอย่างไร เทคโนโลยีที่ช่วยสรุปภาพรวมของข้อมู,ให้เข้าถึงง่ายในธุรกิจ เพื่อใช้ในการรายงานความคืบหน้า การตัดสินใจให้เหมาะสม โดย BI จะช่วยในการประมวณผลข้อมูลต่างๆ Data mining: การจัดเรียงชุดข้อมูลขนาดใหญ่โดยใช้ฐานข้อมูล สถิติ เพื่อระบุแนวโน้มและสร้างความสัมพันธ์ Querying: การได้ข้อมูลและการเข้าถึงฐานข้อมูลData preparation: การรวบรวมข้อมูลจากหลากหลายแห่งReporting: Descriptive analytics: การรายงานเปรียบเทียบกระบวนการทางธุรกิจในปัจจุบันและตัวชี้วัดประสิทธิภาพกับข้อมูลเพื่อติดตามประสิทธิภาพธุรกิจ  Statistical analysis: การรวบรวมผลลัพธ์จากการวิเคราะห์จากตัวเลขและการใช้สถิติเพื่อระบุแนวโน้มที่จะเกิดไมเกิดขึ้นจากข้อมูลชุดนั้นๆ  Data visualization: การสร้างภาพจากข้อมูล เป็นแผนภูมิ กราฟ ที่สามารถเข้าใจง่าย ทำไมต้องใช้ Power BI...

Read More
e-signature

e-Signature แบ่งตามพ.ร.บ. ได้เป็น 2 ประเภท ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ ตาม พ.ร.บ.ว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ฯ ปรากฏอยู่ใน 2 มาตรา คือ มาตรา 9 และมาตรา 26...

Read More
cover E-Signature

ในโลกดิจิทัล ใครหลายๆคนเริ่มหันมาใช้งานอินเทอร์เน็ตกันมากขึ้น ไม่ว่าจะนักเรียนนักศึกษา องค์กร ที่ใช้เครื่องมือติดต่อสื่อสารผ่านอินเทอร์เน็ต ถ้าเทียบกับยุคก่อนที่อินเตอร์เน็ตยังไม่ป็นที่นิยมเนื่องจากความเร็วของอินเทอรเน็ตเองและในหลายองค์กรยังไม่ได้มีความรู้ด้านดิจิทัลมากพอมาก การทำงานภายในองค์กรยังต้องพึ่งงานเอกสาร ที่เป็นรูปแบบกระดาษอยู่ การเซ็นเอกสารยังต้องเป็นการเซ็นกระดาษเพื่อรองรับให้ถูกต้องทั้งวิธีการ และทางด้านกฎหมาย แต่ในปัจจุบันหลายๆองค์เริ่มหันมาใช้เอกสารอิเล็กทรอนิกส์นการส่งไฟล์ต่างๆระหว่างแผนก หรือส่งข้างองค์กรก็ยังมีความง่ายมากยิ่งขึ้น บล็อกนี้เราจะมาดูกันว่า การเซ็นเอกสารในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์มีความสำคัญอย่างไรและจะช่วยยกระดับการทำธุรกรรมและจะช่วยผลักดันการทำงานสู่ดิจิทัลอย่างไร E-Signature คืออะไร E-Signature หรือ electronic signature เทคโนโลยีในการลงลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ ใช้แทนการลงลายมือในกระดาษ สามารถที่จะใช้รูปแบบที่เป็นตัวอักษร อักขระ ตัวเลข ในการยืนยันเจ้าของลายมือกับข้อมูลในเอกสารนั้น เพื่อการผู้เซ็นรับยอมรับกับข้อมูลเอกสาร โดยมีการใช้เทคโนโลยีที่สามารถตรวจสอบได้ว่าผู้นั้นเป็นเจ้าของลายเซ็นไหม สิ่งที่สำคัญของการลงลายมือชื่อ คือ การทำให้สามารถระบุตัวเจ้าของลายมือชื่อและแสดงความต้องการของเจ้าของลายมือชื่อเกี่ยวกับข้อความที่ตนได้ลงลายมือชื่อนั้น ๆ ในการทำธุรกรรมทางต่างๆผ่านออนไลน์ เช่น การเซ็นการอนุมัติการสั่งซื้อ electronic signature ได้มีกฎหมายรับรอง ตามพรบ. ว่าด้วยการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์เป็นไปตามมาตรฐานสากล พ.ศ.2544 และฉบับเพิ่มเติม ปี2562 เราสามารถแบ่งประเภทได้ดังนี้ ประเภทที่...

Read More
s/mime

S/MIME หรือ Secure/Multipurpose Internet Mail Extension เป็นเทคโนโลยีที่ใช้กันอย่างแพร่หลายโดยองค์กรที่ปรับปรุงความปลอดภัยของอีเมล โดยให้การเข้ารหัส ซึ่งปกป้องเนื้อหาของข้อความอีเมลจากการเข้าถึงที่ไม่ต้องการ นอกจากนี้ยังเพิ่มลายเซ็นอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งยืนยันว่าคุณเป็นผู้ส่งข้อความที่แท้จริง...

Read More

ทุกวันนี้การเข้าถึงอินเทอร์เน็ตเป็นสิ่งใกล้ตัวเราสามารถติดต่อสื่อสารหากันได้แบบไม่มีขีดจำกัดมีข้อดีมากมายของดิจิทัลเองที่มาช่วยพลักดันให้เราใช้เทคโนโลยีการมากยิ่งขึ้น อย่างในปัจจุบันโลกได้เข้าสู่การระบาดของcovid-19 ทำให้บุคคลธรรมดารวมไปถึงธุรกิจมีการปรับตัวกันมากขึ้นหันมาใช้รูปแบบออนไลน์ในการทำงานยิ่งขึ้น ทำให้ทุกคนสะดวกสบาย แต่ความสะดวกสบายนั้นก็แฝงไปด้วยอันตราย แนวโน้มของการก่ออาชญกรรมทางไซเบอร์เริ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ และมีหลายรูปแบบที่ไม่สามารถคาดเดาได้ ภัยพวกนี้อยู่ใกล้เรามากยิ่งขึ้น การโจมตีทางไซเบอร์ไม่ว่าจะเป็น ransomware, social engineering และ maliciousสร้างความเสียหายต่อชื่อเสียงได้มากเช่นกัน ถูกนำเอาข้อมูลผู้บริโภค องค์กร ไปใช้ในทางที่ผิด เมื่อถูกบุกรุก อาจทำให้ธุรกิจต้องปฏิบัติตามกฎระเบียบที่เข้มงวดและที่มีค่าใช้จ่ายสูงในการจ่ายเพื่อรักษาความปลอดภัยระบบของตน นี่คือเหตุผลที่เราจำเป็นจะต้องรู้ว่าภายในอนาคตข้างหน้าจะมีเทรนด์เกี่ยวกับ แนวโน้มการรักษาความปลอดภัย Cybersecurity มีอะไรที่น่าสนใจบ้าง User Awareness ภัยคุกคามทางไซเบอร์รุนแรงขึ้นทุกวัน องค์กรจะต้องเสริมสร้างเกาะป้องกันการรักษาความปลอดภัยให้ดีมากยิ่งขึ้น มีการรักษาความปลอดภัยในองค์กรหลากหลาย อย่าง firewall แลพ potocol มากมายที่เป็นการรักษาความปลอดภัยให้กับข้อมูลและเป็นสิ่งที่ขับเคลื่อนด้านความปลอดภัยได้มากที่สุดคือทรัพยากรคนหรือพนักงานภายในองค์กรเราต้องมีความรู้โดยภายในองค์กรควรมีการจัดอบรม ให้กับพนักงานได้มีความกระตือรือร้นในการศึกษาเรื่องการรักษาความปลอดภัย Cyber Security สำหรับGDPR (PDPA) กฎหมายด้านการคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคลของสากลอย่าง GDPR การกำหนดความปลอดภัยของข้อมูลได้๔กนำมาใช้และมีผลกระทบอย่างมากต่อข้อกำหนดในการปกป้องข้อมูลทั่วโลก...

Read More
Microsoft365 manufacturing requirements

ในโลกการทำงานปัจจุบันเทคโนโลยีก้าวไปอย่างรวดเร็ว องค์กรต้องการรูปแบบการจัดการงานที่รวดเร็วและสามารถเข้าถึงกันได้ในหลายๆส่วน ...

Read More
Monster Connect

วันจันทร์ที่ 20 มิถุนายน 2565 เวลา 13:00 น.ณ อาคาร Nasa Street (Airport Link รามคำแหง) ห้องเลขที่ L3-B02-B03 ชั้น 3 ทีมงาน Monster Connect ได้รวมกัน Meeting หารือ และกำหนด ทิศทางกลยุทธ์ทิศทางองค์กรแบบมีประสิทธิภาพในระยะยาว โดย Project ที่กำหนดไว้ในการขับเคลื่อนองค์กร อาทิ Incident Response, ISO27001, e-Brochure ...

Read More

ในโลกที่เต็มไปด้วยดิจิทัล การรับและส่งข้อมูลบนโลกอินเทอร์เน็ต ที่ทุกคนสามารถเข้าถึงได้อย่างอิสระ ไม่ว่าจะเป็นบุคคลธรรมดา องค์กรขนาดเล็กจนไปถึงองค์กรขนาดใหญ่ รัฐบาล และระดับประเทศที่สามารถเชื่อมต่ออินเตอร์เน็ต ในการใช้งานแต่ละบุคคลมีวัตถุประสงค์ที่แตกต่างกันออกไป องค์กรหรือบุคคลธรรมดาเองมีความเสี่ยงต่อภัยคุกคามทางไซเบอร์มากยิ่งขึ้น เนื่องจากในปัจจุบันเราทำธุรกรรม กิจกรรมต่างๆล้วนแต่เกิดขึ้นบนอินเทอร์เน็ต และถูกเก็บเป็น Digital Footprint อยู่ตลอดเวลา และเมื่อข้อมูลไม่ถูกรักษาความปลอดภัย ผู้ไม่หวังดีจะนำข้อมูลไปใช้ในทางที่ผิด ทุกๆคนจะรู้จักกับ Cybersecurity การรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์ ที่เจอกันในโลกไอที และบนอินเทอร์เน็ต ในบล็อกนี้เราจะมาศึกษา cyber resilience ที่มีความแตกต่างกันออกไป Cyber Resilience คืออะไร? Cyber Resilience ถ้าแปลกันตรงตัวจะหมายความว่าความยืดหยุ่นทางไซเบอร์ มีความเกี่ยวโยงกับ "สภาวะทางไซเบอร์"เป็นอย่างมาก คือการที่เราใช้และเคลื่อนไหวกิจกรรมต่างๆบนโลกอินเทอร์เน็ตอยู่ตลอดเวลา Cyber Resilience ก็คือการเตรียมตัว รับมือ...

Read More